fbpx

จากประสบการณ์ในการฝึกอบรม และพัฒนาคนของผู้เขียน ตั้งแต่ปี 2545 มีอยู่หลายบทบาท ได้แก่ Facilitator โครงการ C-Pulp ด้วยแนวคิดการเรียนรู้แบบ Constructionism ให้กับเครือซิเมนต์ไทย (2545-2549) Coach ด้าน Productivity Improvement ให้กับเครือเบทาโกร (2549-2557) และบทบาทของ Trainer ที่เชี่ยวชาญในเรื่องกระบวนการคิดแก้ปัญหา และคิดตัดสินใจ ให้กับ A@LERT

Read More

“Live & Learn” เพราะชีวิตคือการเรียนรู้ คือ ชื่องานทอล์คการกุศล Give&Take ครั้งที่ 10  งาน Give&Take คือ งานที่อาจารย์ไชยยศ ปั้นสกุลไชย วิทยากรระดับแนวหน้าของเมืองไทย เป็นคนริเริ่มจัดขึ้น ตั้งแต่ครั้งแรกในปี 2553 จนมาถึงปัจจุบันที่กำลังจะจัดขึ้นก็นับเป็นครั้งที่ 10 เข้าไปแล้ว ซึ่งในครั้งนี้มีอาจารย์เอ-ทวีวรรณ กมลบุตร แห่ง บริษัท

Read More

(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ ​23/11/2557) ในชีวิตของทุกคนไม่ว่าผู้ใหญ่ หรือเด็ก ล้วนแต่ต้องเผชิญหน้ากับปัญหาต่างต่างนานา ไม่ว่าจะเล็กหรือว่าใหญ่ เพียงแต่ใครจะมองว่าสิ่งนั้นเป็นอุปสรรคที่ขวางกั้น หรือเป็นสิ่งนั้นเป็นความท้าทายที่ทำให้เราเติบโตทางปัญญา แท้ที่จริงแล้วประเภทของปัญหา สามารถจำแนกได้ 2 ประเภท Standard Problem คือ ความแตกต่างระหว่าง “สิ่งที่เป็นอยู่” กับ “สิ่งที่ควรจะเป็น” Challenge

Read More

(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ ​03/08/2557) ผู้เขียนเชื่อว่าทุกคนมีฝันของตัวเอง ไม่ว่าฝันนั้นจะเล็กหรือฝันนั้นจะใหญ่ แต่จะทำอย่างไรเพื่อไปให้ถึงฝันนั้น วันนี้ผู้เขียนอยากจะนำเสนอแนวคิด “Looking Backward then Moving Forward” ซึ่งเป็นแนวคิดที่จะช่วยพาเราไปสู่เป้าหมายที่เราต้องการ ไม่ว่าจะเป็นชีวิตการงาน หรือ ชีวิตส่วนตัว เริ่มต้นก่อนที่จะทำสิ่งใดนั้น การที่เราจะบรรลุเป้าหมายที่เราต้องการได้ จะต้องเริ่มต้นจากคำถามว่า “แท้ที่จริงแล้ว อะไร

Read More

(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ ​13/07/2557) “Please listen carefully and try to hear what i am not saying” – Charles Finn สุ-จิ-ปุ-ลิ ทักษะการฟัง คือ

Read More

(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ ​08/06/2557) “ครูที่ดี จุดประกาย ความใฝ่รู้ ให้เด็กสู้ สร้างสรรค์สิ่งปราถนา ครูไม่ดี ยึดอัตตา ตนเป็นใหญ่ กดเด็กไว้ ด้วยความรู้ ในกะลา” บทกลอนข้างต้นเป็นบทกลอนที่ผู้เขียนแต่งขึ้นเองจากประสบการณ์ที่ได้ไปเป็นคุณครูที่โรงเรียนดรุณสิกขาลัย ต้องยอมรับกันว่า ความสำคัญของอาชีพครูที่ได้ชื่อว่าเป็นแม่พิมพ์ของชาติ ซึ่งมีความสำคัญอย่างมากต่อการพัฒนาประเทศ แต่กลับไม่ได้รับการเหลียวแลให้ความสำคัญจากรัฐบาลไม่ว่าจะเป็นยุคสมัยใด อาชีพครูนับว่าได้เงินเดือนน้อยมาก เมื่อเทียบกับอาชีพอื่น

Read More

(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ ​11/05/2557) ในท่ามกลางวิกฤติปัญหาบ้านเมืองที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน มีผู้ใหญ่หลายท่านได้แนะให้ทุกฝ่ายหันหน้าเข้าหากัน เพื่อพูดคุยหาทางออกของปัญหา ด้วยวิธีการสุนทรียสนทนา (Dialogue) จากประสบการณ์ของผู้เขียนที่เคยเข้าร่วมวง Dialogue ก็ได้เรียนรู้มุมมองที่เป็นประโยชน์หลายประเด็นสำคัญ ๆ ดังนี้ 1. “สุนทรียสนทนา” (Dialogue) ไม่ใช่ยาวิเศษ ที่จะสามารถนำใช้ในการแก้ปัญหาใดก็ได้ในทันที แต่ Dialogue คือ

Read More

(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ ​13/04/2557) “ทุก ๆ ครั้ง ที่เรากำลังจะได้อะไร” ให้ถามต่อไปว่า “แล้วคนอื่นเสียอะไรไปบ้าง” “อย่าถามว่าฉันจะได้อะไร” แต่จงถามว่า “แล้วฉันจะให้อะไรกับคนอื่นได้บ้าง” (สาระธรรมเพื่อมวลชน จากท่าน ว.วชิรเมธี) มีคนกล่าวไว้ว่า “คำถามที่ทรงพลัง สร้างการเปลี่ยนแปลงอันยิ่งใหญ่”   เวลาเราร่วมมือกันทำอะไรส่วนใหญ่เรามักมองเพียง 2

Read More

(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ ​26/01/2557) “เรียนเป็นเรียน เล่นเป็นเล่น” คำพร่ำสอนของผู้ใหญ่ที่เน้นย้ำต่อเด็ก ๆ ในเรื่องระเบียบวินัย ความตั้งใจสนใจเรียนอย่างจริงจัง จนทำให้เรื่องเรียนกลายเป็นเรื่องที่น่าเบื่อ พอถึงเวลาเล่นเด็กส่วนใหญ่ก็นิยมเล่นเกมผ่านมือถือ แท็บเล็ต หรือไม่ก็ไปตามร้านเกมต่าง ๆ แถวบ้านซึ่งเปิดบริการ 24 ชั่วโมง จนกลายเป็นแหล่งมั่วสุมสำหรับเด็ก เริ่มต้นจากเล่นเกม ไปจนถึงหัดสูบบุหรี่ ซิ่งมอเตอร์ไซค์ต่าง

Read More

(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ ​12/01/2557) ในปี 2556  กรุงเทพมหานคร ได้รับมอบตำแหน่งเมืองหนังสือโลกประจำปี 2556 (World Book Capital 2013) เป็นลำดับที่ 13 ต่อจากกรุงเยเรวาน ประเทศอาร์เมเนีย และได้มีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ก็ช่วยทำให้มีความตื่นตัวในการอ่านมากขึ้น รวมทั้งงานมหกรรมสัปดาห์หนังสือแห่งชาติที่มีจัดขึ้นปีละ

Read More