การวิเคราะห์ระบบ (Systems Analysis) เมื่อย้อนกลับไปดูที่บทที่ 1 ในเรื่องปัญหาในรูปแบบกรณีที่ 2 ซึ่งเป็นกรณีที่ “สิ่งที่ต้องการ (Target)” มากกว่า “ค่ามาตรฐาน (Standard)” ดังแสดงในรูปที่ 4.1 รูปที่ 4.1 ปัญหาในรูปแบบกรณีที่ 2 นี้เป็นปัญหาประเภท “ปัญหาพื้น ๆ (Standard Problem)” ที่เราสามารถที่จะใช้วิธีการเดิมในอดีตที่เคยทำสำเร็จตาม
Category: Blog

นายเจฟเกิดทะเลอทะล่าไปอวดฉลาดกับเจ้าพ่อมาเฟียแห่งเมืองชิคาโก เจ้าพ่อมาเฟียจึงป้อนคำถามยาก ๆ ให้ตอบ ถ้านายเจฟตอบไม่ได้ก็จะต้องโดนหล่อฝังเข้าไปในคอนกรีต คำถามมีดังนี้ “มีขวดไวน์ขนาดบรรจุ 1 ลิตร อยู่ 1 ขวด และมีเหยือกขนาดบรรจุ 800 มิลลิลิตร อยู่ 1 ใบ ต้องการแบ่งไวน์ 400 มิลลิลิตร ให้มาอยู่ในเหยือกดังกล่าวนี้” ถามว่า นายเจฟจะทำได้อย่างไร ถ้าสิ่งที่เจ้าพ่อยื่นให้เป็นแก้วไวน์ขนาดบรรจุ

ในการสำรวจสภาพการณ์ของการพัฒนาเพื่อออกตัวผลิตภัณฑ์ X ที่เป็นยุทธศาสตร์ในเฟสต่อไปของบริษัทในตลาด 4 ราย คือ บริษัท A, B, C และ D ได้ข้อมูลว่า ถ้าบริษัท A หรือ B อย่างน้อยหนึ่งบริษัททำการพัฒนาอยู่ บริษัท C ก็กำลังพัฒนาด้วยเช่นเดียวกัน ถ้าบริษัท A หรือ C

การออกแบบระบบ (Systems Design) เมื่อย้อนกลับไปดูที่บทที่ 1 ในเรื่องปัญหาในรูปแบบกรณีที่ 1 ซึ่งเป็นกรณีที่ “สิ่งที่ต้องการ (Target)” มากกว่า “ค่ามาตรฐาน (Standard)” ดังแสดงในรูปที่ 3.1 ปัญหาในรูปแบบกรณีที่ 1 นี้เป็นปัญหาประเภท “ปัญหาท้าทาย (Challenge Problem)” ที่เราไม่สามารถที่จะใช้วิธีการเดิมในอดีตที่เคยทำสำเร็จตาม “ค่ามาตรฐาน (Standard)” มาใช้ได้อีกต่อไป

เมื่อเอ่ยถึงความคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) หลายคนคงนึกถึง หนังสือที่ชื่อว่า “The Fifth Discipline” ของ Peter M. Senge ซึ่งพูดถึงวินัยทั้ง 5 ประการ ขององค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) ได้แก่ Personal Mastery Mental Models Shared Vision

“ปัญหา คือ อะไร ?” “อะไร คือ ปัญหา ?” คือ คำถามที่คิดว่าหลาย ๆ คนคงเคยโดนตั้งคำถาม หรือเคยตั้งคำถามนี้กับตัวเอง เวลาที่ประสบพบเจอกับสิ่งที่คิดว่าเป็นปัญหาซึ่งมีทั้งเรื่องส่วนตัว และเรื่องงาน คำตอบที่มักได้ยินจากการตั้งคำถาม “ปัญหา คือ อะไร ?” “อะไร คือ ปัญหา ?” มักจะเป็น

หากพูดถึงการทำ CSR ในภาคธุรกิจ ส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นกันไปทำในเรื่อง CSR After Process เช่น ทำบุญ ให้ทุน ปลูกป่า ทอดกฐิน แจกผ้าห่ม ฯลฯ มีธุรกิจน้อยรายที่เริ่มหันมาให้ความใส่ใจเรื่อง CSR ในเชิงกลยุทธ์ ความรับผิดชอบต่อสังคมเชิงกลยุทธ์ (Strategic CSR) หมายถึง การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรแบบ “เชิงรุก” โดยองค์กรจะยกระดับจากการเป็นเพียงบริษัทที่สามารถปฏิบัติได้ตามมาตรฐานข้อกำหนดต่าง ๆ

Sustainable Development Goals คือ “เป่าหมายโลก” ที่องค์การสหประชาชาติให้ทุกประเทศรับไปเป็นกรอบในการพัฒนา ซึ่งเป้าหมายทั้ง 17 ข้อ จะถูกใช้เป็น “จริยธรรมสากล” กำกับทิศทางการพัฒนาโลก ระหว่างปี 2558 ถึง 2573 แม้ว่ากลุ่มเป้าหมายหลักจะเป็นรัฐบาล แต่จริง ๆ แล้วภาคธุรกิจมีส่วนสำคัญอย่างมากในการทำให้เป้าหมายต่าง ๆ บรรลุผล เป้าหมายทั้ง 17 ข้อ

หากจะชี้ให้เห็นความสำคัญของ KPIs ประการหนึ่ง ก็คือ เป็นดัชนีชี้วัดให้เราเห็นว่า เราสามารถที่จะบรรลุ Goal ที่ตั้งไว้ได้หรือไม่ ? ดังนั้น KPIs จะไม่มีความสำคัญใด ๆ เลย หาก Goal ของเราไม่ชัดเจน จากงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด โดยการทำแบบสำรวจ 600 ฉบับ ได้ข้อสรุปว่า คนที่ไม่มี Goal ที่ชัดเจน

ความสำเร็จ…ส่วนหนึ่งย่อมมาจาก “การวัด” ที่ถูกต้อง Jame Harrington ได้กล่าวไว้ว่า KPIs (ดัชนีชี้วัดสำเร็จ) คือ เครื่องมือที่ใช้วัดผลการดำเนินงาน ประเมินผลการดำเนินงาน ในด้านต่าง ๆ ขององค์กรซึ่งสามารถแสดงในรูปของตัวเลข อัตราส่วน ร้อยละ เพื่อสะท้อนประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการทำงานขององค์กร หรือหน่วยงานต่าง ๆ ภายในองค์กร หลักการในการกำหนด KPIs หลักเหตุ และผล