fbpx

Home

Post Grid #1

dummy-img

หวังผลระยะยาว วัดผลระยะสั้น ?

หวังผลระยะยาว วัดผลระยะสั้น ? คำถามนี้ผุดขึ้นในหัวขณะกำลังนั่งอบรมสัมมนา ณ โรงแรมแห่งหนึ่ง ความคิดเชื่อมโยงไปกับหลักสูตร “เทคนิคการกำหนดตัวชี้วัด และเป้าหมายให้บรรลุผล” ที่กำลังออกแบบอยู่ ว่าหากเราเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดหลักสูตร เราจะมีวิธีการวัดผลอื่น ๆ อย่างไรบ้าง นอกเหนือจากการประเมินผลหลังการฝึกอบรม เพื่อวัดผลการเปลี่ยนแปลงของผู้เรียนที่เกิดขึ้นในระยะยาว มองในมุมกลับกัน เราเองในฐานะที่เป็นวิทยากรจะออกแบบกระบวนการเรียนรู้อย่างไร เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืน คิดย้อนอดีตกลับไปตอนทำโครงการ C-Pulp#3 และ C-Pulp#4 ที่เป็นโครงการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของพนักงานในเครือ SCG Paper โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แนว Constructionism ที่เน้นไปที่การเรียนรู้ผ่านการทำโครงงานที่เอาปัญหาเป็นตัวตั้ง Problem-Based…

ใคร คือ "ครู" ผู้เปลี่ยนแปลง ?

ใคร คือ "ครู" ผู้เปลี่ยนแปลง ?

ใคร คือ “ครู” ผู้เปลี่ยนแปลง ? คำถามนี้เป็นคำถามชวนคิดที่นึกขึ้นได้ขณะยืนอยู่บนรถไฟฟ้า BTS ในวันนี้ คำว่า “ครู” ในที่นี้ มิได้หมายถึงเฉพาะ “ครู” ที่เป็นตัวบุคคลเท่านั้น แต่ยังหมายรวมถึงสิ่งต่าง ๆ ที่เราเรียนรู้มากมายในชีวิตทั้งจากเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เราเคยมีประสบการณ์ตรงด้วยตัวเอง และจากเรื่องราวต่าง ๆ ในหนังสือที่อ่าน ในมุมมองของผมเองพอนึกถึง “ครู” ผู้เปลี่ยนแปลง ผมจะระลึกนึกถึง “คุณครู” “อาจารย์” ที่สอนให้คิด สอนในหลักการ…

dummy-img

ตรรกศาสตร์กับการดำเนินชีวิต

นายเรียนรู้Oct 21, 20161 min read

ตรรกศาสตร์กับการดำเนินชีวิต รัก… เกลียด… เชื่อฟัง… ดื้อ… ดี… ไม่ดี… ต่างล้วนเป็นตัวแปรอิสระที่ไม่ขึ้นต่อกัน ไม่สามารถใชัตรรกศาสตร์อธิบายเชื่อมโยงความสัมพันธ์ให้เกี่ยวข้องกันได้ เช่น เรามักได้ยินผู้ใหญ่พร่ำสอนบ่อย ๆ ว่า “เด็กดีต้องเชื่อฟัง” “เด็กดีต้องไม่ดื้อ” ลองมาใช้ตรรกศาสตร์ขบคิดดู ถ้าหนูเชื่อฟังแล้วหนูเป็นคนดี…จริงหรือ ? หนูเป็นคนดีก็ต่อเมื่อหนูเชื่อฟัง…จริงหรือ ? ชวนให้คิดกันต่อครับ อย่าเพิ่งด่วนตัดสินใจ เพ่งโทษใครว่าเป็น “คนดี” “คนไม่ดี” เพียงเพราะคำว่า รัก… เกลียด… เชื่อฟัง… ดื้อ……

ปัญหาแบบใดควรใช้ Why-Why ?

ปัญหาแบบใดควรใช้ Why-Why ?

Why-Why Analysis คือ เครื่องมือหนึ่งที่ใช้ในการวิเคราะห์สาเหตุรากเหง้าของปัญหา แต่มักมีคำถามบ่อย ๆ ว่าเทคนิคการวิเคราะห์ด้วย Why-Why นั้น เหมาะกับปัญหาประเภทใด ? ก่อนอื่นเราต้องทำความเข้าใจ Pattern ของปัญหาก่อนว่าสามารถแบ่งได้หลัก ๆ 2 ประเภท คือ ปัญหาเรื้อรั้ง (Chronic Problem) ปัญหาครั้งคราว (Sporadic Problem) การวิเคราะห์ด้วย Why-Why Analysis จะเหมาะกับประเภทปัญหาครั้งคราว (Sporadic Problem)…