fbpx

หากเราใช้ทักษะความคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) เขียนแผนภาพที่เชื่อมโยงให้เห็นในมิติมุมมองของ BSC  (Balanced Scorecard) ก็จะเห็นความเชื่อมโยงระหว่าง มุมมองทางด้านการเงิน มุมมองทางด้านลูกค้า มุมมองทางด้านกระบวนการ มุมมองทางด้านการเรียนรู้ และการเติบโต ซึ่งจะมีลักษณะเป็นวงจรเสริมแรง (Reinforcing Loop) อย่างง่าย ๆ ที่มี 2 วงซ้อนกันอยู่ คือ วงจรที่นำผลกำไรไปลงทุนในคน วงจรที่นำผลกำไรไปลงทุนในเครื่องจักร นี่คือ

Read More

สิ่งที่จะทำให้เราสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองได้อย่างดีนั้น คือ การเข้าใจตัวตนของตัวเอง และการเข้าใจจุดแข็งของตนเอง หลักสูตร “ค้นหาตัวตนที่ซ่อนเร้น…เฟ้นหาจุดเด่นที่ซ่อนอยู่” คือ หนึ่งในหลักสูตรที่ผมได้พัฒนาขึ้นมา โดยนำศาสตร์ความรู้ในเรื่อง Enneagram มาผสมผสานกับเนื้อหาในหนังสือ “เจาะจุดแข็ง” (StrengthsFinder) กับหนังสือ “สร้างจุดเด่น เน้นจุดแกร่ง” (StandOut) ผมกลับมานั่งทบทวนเนื้อหาในหลักสูตรนี้อีกครั้ง เมื่อได้เรียนรู้แนวการฝึกอบรมสไตล์ Training and Group Coaching (T&GC) เพื่อให้ตัวเองสามารถเป็นกระจกสะท้อนที่ใสให้กับผู้เรียนจะสามารถ

Read More

ผู้นำที่ดีต้องมีคุณลักษณะ “3H” อันได้แก่ Head – บริหารด้วยสมอง และความคิด Heart – บริหารด้วยใจ มีความเข้าอกเข้าใจ Hand – บริหารโดยประพฤติตนเป็นแบบอย่าง ไม่ใช่ชี้นิ้วสั่ง “นายเรียนรู้” อาจารย์บุญเลิศ คณาธนสาร วิทยากร และที่ปรึกษา A@LERT Learning and Consultant มือถือ

Read More

รากที่สอง พอเอ่ยถึงคำ ๆ นี้ คงเป็นที่ขยาดของใครต่อใครหลาย ๆ คน แต่แท้ที่จริงรากที่สอง ไม่ใช่เรื่องที่เข้าใจยากเลย หากเราเข้าใจที่มาของมัน “รากที่สอง” มาจากคำว่า “Square root” ในภาษาอังกฤษ “Square” หมายถึง สี่เหลี่ยมจัตุรัส “Root” หมายถึง ราก ต้นตอ ดังนั้นจึงน่าจะเกี่ยวข้องกับ ต้นตอของสี่เหลี่ยมจัตุรัส ง่าย

Read More

ว่ากันต่อด้วยไอเดียการทำโครงการ “โรงเรียนนักคิด” วันนี้ได้มีโอกาสคุยกับอาจารย์ท่านหนึ่งที่สนใจในโครงการนี้ ซึ่งสนใจอยากให้ไปจัดอบรมให้กับอาจารย์อาชีวะที่อยู่ในกลุ่มเครือข่ายทั่วประเทศกว่า 400 วิทยาลัย เป็นโจทย์ที่ต้องขบคิดกันต่อไปว่าจะไปสร้างความร่วมมืออย่างไรในระดับ Cluster ระหว่างภาครัฐ กับภาคเอกชนที่เป็นผู้ประกอบการในท้องถิ่นนั้น ที่จะมาร่วมขับเคลื่อนโครงการ “โรงเรียนนักคิด” ให้เกิดขึ้น ดูรายละเอียดหลักสูตร “Analytical and Systematic Thinking” สนใจฝึกอบรมติดต่อ A@LERT Learning and Consultant คุณชลมารค (มิลค์)

Read More

ทักษะหนึ่งที่สำคัญในการเรียนรู้ และการทำงานในศตวรรษที่ 21 นั่นก็คือ “ทักษะการคิด” แต่น้อยมากที่จะมีการฝึกฝน “ทักษะการคิด” ให้กับนักเรียน ผู้เขียนเองมีประสบการณ์ในเรื่องการสอน “ทักษะการคิด” ในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น ทักษะการคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking Skill) ทักษะการคิดเชิงระบบ (Systems Thinking Skill) ทักษะการคิดเชิงกลยุทธ์ (Strategic Thinking Skill)

Read More

“เมื่อห้องเรียนกลับทาง” หนังสือเล่มเล็ก ๆ โดย ดร.เดชรัต สุขกำเนิด (อาจารย์ต้น) แห่งภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร และทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ถ่ายทอดประสบการณ์ในห้องเรียนในมุมมองใหม่ ๆ ที่ได้ทำให้ห้องเรียนมีชีวิตได้ทั้งความรู้ และความรู้สึก ผมหยิบหนังสือเล่มนี้มาอ่านด้วยความสนใจที่ว่า การเรียนการสอนอย่างเช่นในมหาวิทยาลัยที่บางครั้งมีคนเข้าเรียนเป็น 100 คนขึ้นไป อาจารย์ต้นมีกระบวนการในการจัดรูปแบบการเรียนรู้อย่างไร ให้ผู้เรียนได้ทั้งความรู้ และความสนุกสนาน เนื้อหาในหนังสือ ส่วนหนึ่งอาจารย์ต้นนำมาจากบันทึกเรื่องราวประสบการณ์ในการจัดการเรียนการสอนที่อาจารย์เขียนเล่าไว้ใน Facebook

Read More

หวังผลระยะยาว วัดผลระยะสั้น ? คำถามนี้ผุดขึ้นในหัวขณะกำลังนั่งอบรมสัมมนา ณ โรงแรมแห่งหนึ่ง ความคิดเชื่อมโยงไปกับหลักสูตร “เทคนิคการกำหนดตัวชี้วัด และเป้าหมายให้บรรลุผล” ที่กำลังออกแบบอยู่ ว่าหากเราเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดหลักสูตร เราจะมีวิธีการวัดผลอื่น ๆ อย่างไรบ้าง นอกเหนือจากการประเมินผลหลังการฝึกอบรม เพื่อวัดผลการเปลี่ยนแปลงของผู้เรียนที่เกิดขึ้นในระยะยาว มองในมุมกลับกัน เราเองในฐานะที่เป็นวิทยากรจะออกแบบกระบวนการเรียนรู้อย่างไร เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืน คิดย้อนอดีตกลับไปตอนทำโครงการ C-Pulp#3 และ C-Pulp#4 ที่เป็นโครงการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของพนักงานในเครือ SCG

Read More

ใคร คือ “ครู” ผู้เปลี่ยนแปลง ? คำถามนี้เป็นคำถามชวนคิดที่นึกขึ้นได้ขณะยืนอยู่บนรถไฟฟ้า BTS ในวันนี้ คำว่า “ครู” ในที่นี้ มิได้หมายถึงเฉพาะ “ครู” ที่เป็นตัวบุคคลเท่านั้น แต่ยังหมายรวมถึงสิ่งต่าง ๆ ที่เราเรียนรู้มากมายในชีวิตทั้งจากเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เราเคยมีประสบการณ์ตรงด้วยตัวเอง และจากเรื่องราวต่าง ๆ ในหนังสือที่อ่าน ในมุมมองของผมเองพอนึกถึง “ครู” ผู้เปลี่ยนแปลง

Read More