fbpx

ใคร คือ “ครู” ผู้เปลี่ยนแปลง ? คำถามนี้เป็นคำถามชวนคิดที่นึกขึ้นได้ขณะยืนอยู่บนรถไฟฟ้า BTS ในวันนี้ คำว่า “ครู” ในที่นี้ มิได้หมายถึงเฉพาะ “ครู” ที่เป็นตัวบุคคลเท่านั้น แต่ยังหมายรวมถึงสิ่งต่าง ๆ ที่เราเรียนรู้มากมายในชีวิตทั้งจากเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เราเคยมีประสบการณ์ตรงด้วยตัวเอง และจากเรื่องราวต่าง ๆ ในหนังสือที่อ่าน ในมุมมองของผมเองพอนึกถึง “ครู” ผู้เปลี่ยนแปลง

Read More

ตรรกศาสตร์กับการดำเนินชีวิต รัก… เกลียด… เชื่อฟัง… ดื้อ… ดี… ไม่ดี… ต่างล้วนเป็นตัวแปรอิสระที่ไม่ขึ้นต่อกัน ไม่สามารถใชัตรรกศาสตร์อธิบายเชื่อมโยงความสัมพันธ์ให้เกี่ยวข้องกันได้ เช่น เรามักได้ยินผู้ใหญ่พร่ำสอนบ่อย ๆ ว่า “เด็กดีต้องเชื่อฟัง” “เด็กดีต้องไม่ดื้อ” ลองมาใช้ตรรกศาสตร์ขบคิดดู ถ้าหนูเชื่อฟังแล้วหนูเป็นคนดี…จริงหรือ ? หนูเป็นคนดีก็ต่อเมื่อหนูเชื่อฟัง…จริงหรือ ? ชวนให้คิดกันต่อครับ อย่าเพิ่งด่วนตัดสินใจ เพ่งโทษใครว่าเป็น “คนดี” “คนไม่ดี”

Read More

Why-Why Analysis คือ เครื่องมือหนึ่งที่ใช้ในการวิเคราะห์สาเหตุรากเหง้าของปัญหา แต่มักมีคำถามบ่อย ๆ ว่าเทคนิคการวิเคราะห์ด้วย Why-Why นั้น เหมาะกับปัญหาประเภทใด ? ก่อนอื่นเราต้องทำความเข้าใจ Pattern ของปัญหาก่อนว่าสามารถแบ่งได้หลัก ๆ 2 ประเภท คือ ปัญหาเรื้อรั้ง (Chronic Problem) ปัญหาครั้งคราว (Sporadic Problem) การวิเคราะห์ด้วย

Read More

D1 – Establish the team จัดตั้งทีมที่ประกอบไปด้วยคนที่มีความรู้ในผลิตภัณฑ์ และกระบวนการนั้น ๆ D2 – Describe the Problem ระบุปัญหาให้ชัดเจนโดยใช้เทคนิคการตั้งคำถาม 5W2H ว่า ใคร (who) ทำอะไร (what) ที่ไหน (where) เมื่อไหร่ (when) ทำไม

Read More

Kaizen ปรัชญาการทำงานที่เป็นรากฐานที่สำคัญของการทำงานวิถีโตยาต้า (Toyota Way) โดยมุ่งเน้นให้ทุกคนคิด และลงมือทำตามกระบวนการ P-(Think)-D-(Think)-C-(Think)-A-(Think) โดยแทรกกระบวนการคิดไว้ในทุก ๆ ขั้นตอนเสมอ ทัศนคติที่ต้องการเปลี่ยนแปลงไปสู่สิ่งที่ดีกว่า คือ เรื่องสำคัญ ดังนั้น “การเกิดความพลาดนั้น ย่อมดีเสียกว่าไม่ทำอะไรเลย” มีคนจำนวนมากที่เข้าใจผิดว่า Kaizen นั้นหมายถึงเฉพาะ “การทำให้ดีขึ้น” เท่านั้น แต่ต้องย้ำกันว่า สิ่งที่มีความสำคัญที่สุดของ Kaizen นั้น

Read More

LEED ย่อมาจากคำว่า Leadership in Energy and Environmental Design เป็นมาตรฐานอเมริกันที่ใช้กันอย่างแพร่หลายสำหรับการรับรองอาคารเขียว โดยเกณฑ์การประเมินแบ่งออกเป็น 6 ส่วน คือ ความยั่งยืนของสถานที่ตั้ง (Sustainable Site) ประสิทธิภาพการใช้น้ำ (Water Efficiency) การใช้พลังงาน และผลต่อชั้นบรรยากาศ (Energy and Atmosphere) การเลือกใช้วัสดุ

Read More

รู้หรือไม่ว่าเรามีส่วนในการก่อให้เกิดภาวะโลกร้อนขึ้นเท่าใด ? กิจกรรมที่เราทำในแต่ละวันที่มีการใช้พลังงานไฟฟ้า การกินกอาหาร การเดินทาง มีส่วนที่ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อนมากน้อยเพียงใด ? วันนี้เรามี App ง่าย ๆ ที่จะมาแนะนำชื่อ “Thai Carbon Footprint Calculator” สามารถเข้าไปโหลดใช้ได้ใน App Store เมื่อเราเข้าไปกรอกข้อมูลต่าง ๆ แล้วว่าเรามีกิจกรรมในแต่ละวันอย่างไรบ้าง App ก็จะทำการคำนวณว่าในหนึ่งปี เรามีส่วนในการปล่อย

Read More

ชื่อหนังสือ : เขียวเปลี่ยนโลก (The Truth about Green Business) ชื่อผู้เขียน : Gill Friend ชื่อผู้แปล : สฤณี อาชวานันทกุล สำนักพิมพ์ : โอเพ่นเวิลด์ส ราคา : 300 บาท ความคุ้มค่า :

Read More

“เรากำลังจะส่งมอบอะไรให้ลูกหลาน ?” บ้าน ที่ดิน ทรัพย์สินเงินทองต่าง ๆ คือ สิ่งที่คนทั่ว ๆ ไปสะสมเป็นมรดกให้ลูกหลาน แต่มันเป็นแค่เพียงปัจจัยทุนทางเศรษฐกิจเท่านั้น ส่วนในมิติอื่น ๆ ได้แก่ มิติทางสังคม และมิติทางสิ่งแวดล้อม เป็นคำถามที่ชวนให้ครุ่นคิดว่า “เรากำลังจะส่งมอบอะไรให้ลูกหลาน ?” ในบทความ “ปี 2050 ฤาจะเป็น อวสานวันสิ้นโลก ?” ได้แสดงให้เห็นข้อมูลที่น่าสนใจว่า

Read More

ชีวลอกเลียน (Biomimicry) คือ การทำตามวิถีของธรรมชาติ ที่เราเรียนรู้พื้นฐานจากธรรมชาติ และนำมาต่อยอดในการเปลี่ยนวิถีที่เราดำเนินธุรกิจ ออกแบบผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ให้เกิดการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ หลักการสำคัญ คือ การมองธรรมชาติเป็นต้นแบบ ดังเช่นการออกแบบชุดว่ายน้ำ Speedo รุ่น LZR Racer ที่ Michael Phelps ใส่แข่งขันตอนว่ายน้ำในกีฬาโอลิมปิกจนได้ 8 เหรียญทอง ก็มาจากแรงบันดาลใจในการศึกษาในเรื่องผิวหนังของฉลาม รถ

Read More