fbpx

(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ ​08/06/2557) “ครูที่ดี จุดประกาย ความใฝ่รู้ ให้เด็กสู้ สร้างสรรค์สิ่งปราถนา ครูไม่ดี ยึดอัตตา ตนเป็นใหญ่ กดเด็กไว้ ด้วยความรู้ ในกะลา” บทกลอนข้างต้นเป็นบทกลอนที่ผู้เขียนแต่งขึ้นเองจากประสบการณ์ที่ได้ไปเป็นคุณครูที่โรงเรียนดรุณสิกขาลัย ต้องยอมรับกันว่า ความสำคัญของอาชีพครูที่ได้ชื่อว่าเป็นแม่พิมพ์ของชาติ ซึ่งมีความสำคัญอย่างมากต่อการพัฒนาประเทศ แต่กลับไม่ได้รับการเหลียวแลให้ความสำคัญจากรัฐบาลไม่ว่าจะเป็นยุคสมัยใด อาชีพครูนับว่าได้เงินเดือนน้อยมาก เมื่อเทียบกับอาชีพอื่น

Read More

(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ ​26/01/2557) “เรียนเป็นเรียน เล่นเป็นเล่น” คำพร่ำสอนของผู้ใหญ่ที่เน้นย้ำต่อเด็ก ๆ ในเรื่องระเบียบวินัย ความตั้งใจสนใจเรียนอย่างจริงจัง จนทำให้เรื่องเรียนกลายเป็นเรื่องที่น่าเบื่อ พอถึงเวลาเล่นเด็กส่วนใหญ่ก็นิยมเล่นเกมผ่านมือถือ แท็บเล็ต หรือไม่ก็ไปตามร้านเกมต่าง ๆ แถวบ้านซึ่งเปิดบริการ 24 ชั่วโมง จนกลายเป็นแหล่งมั่วสุมสำหรับเด็ก เริ่มต้นจากเล่นเกม ไปจนถึงหัดสูบบุหรี่ ซิ่งมอเตอร์ไซค์ต่าง

Read More

(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ ​12/01/2557) ในปี 2556  กรุงเทพมหานคร ได้รับมอบตำแหน่งเมืองหนังสือโลกประจำปี 2556 (World Book Capital 2013) เป็นลำดับที่ 13 ต่อจากกรุงเยเรวาน ประเทศอาร์เมเนีย และได้มีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ก็ช่วยทำให้มีความตื่นตัวในการอ่านมากขึ้น รวมทั้งงานมหกรรมสัปดาห์หนังสือแห่งชาติที่มีจัดขึ้นปีละ

Read More

(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ ​05/01/2557) ในช่วงที่ผู้เขียนได้มีโอกาสทำงานในธุรกิจกระดาษและบรรจุภัณฑ์ เครือซิเมนต์ไทย SCG-Paper ระหว่างปี 2540-2549 ผู้เขียนได้มีโอกาสทำงานในหลากหลายตำแหน่ง หนึ่งในนั้น คือ ตำแหน่ง Learning Facilitator ในช่วงนั้นผู้เขียนเรียนรู้ในการเป็น Learning Facilitator จากการไปเรียนรู้กระบวนการเรียนรู้ในแนวทาง Constructionism ที่โรงเรียนดรุณสิกขาลัย ที่คุณพารณ

Read More

(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ ​29/12/2556) เมื่อวันก่อนระหว่างที่ผู้เขียนกำลังโดยสารรถไฟฟ้า BTS กลับบ้านนั้น ก็ได้เจอกับครอบครัวหนึ่งบนขบวนรถ สามีเป็นชาวต่างชาติ ภรรยาเป็นคนไทย มีลูกน้อยวัยกำลังซน 1 คน เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก็ปรากฎให้เห็นดังภาพ คือ เจ้าหนูน้อยขึ้นไปปีนป่ายอยู่บนเสาราวจับของรถไฟฟ้า โดยมีคุณพ่อใช้มือประคองอยู่ห่าง ๆ กันไว้ เผื่อกรณีเจ้าหนูน้อยพลัดตกลงมา ผู้เขียนเฝ้าสังเกตการเล่นปีนป่ายขึ้นลง เมื่อค่อย

Read More

โลกในยุคปัจจุบัน คือ สังคมแห่งการเรียนรู้ (Knowledge Society) คนที่มีสามารถในการเรียนรู้ (Learning ability) ที่ดีจึงจะสามารถปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้ หากเปรียบเทียบ “หนังสือ คือ ประตูสู่โลกกว้าง” แล้วละก็ “google คงเปรียบเทียบได้กับ หน้าต่างมหัศจรรย์” ด้วยจำนวนข้อมูลมหาศาลที่ถาโถมเข้ามาดั่งคลื่นยักษ์สึนามิ ทำให้เกิดความสลับซับซ้อนในการเข้าถึงความจริงยากยิ่งขึ้น สิ่งสำคัญของนักเรียนรู้ที่ดี ก็คือ การมีหัวใจนักปราชญ์ (สุ-จิ-ปุ-ลิ) “สุ” ย่อมาจากคำว่า

Read More

(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ ​14/07/2556) ช่วงที่ผ่านมาในแวดวงการศึกษาไทย เรื่องที่มีการพูดคุยกันมากที่สุด คงหนีไม่พ้นเรื่องนโยบายการยุบโรงเรียนขนาดเล็กที่ไม่มีคุณภาพ เนื่องจากงบประมาณมีไม่เพียงพอ คำถามหนึ่งที่เกิดขึ้นในสังคมนี่คือ แนวทางการแก้ไขปัญหาคุณภาพการศึกษาไทยจริง ๆ หรือ ? อันที่จริงแล้วประเด็นปัญหาเรื่องคุณภาพการศึกษาไม่ได้มีเฉพาะในเมืองไทยเท่านั้น อย่างในประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศที่เป็นต้นแบบหลักสูตรการศึกษาของประเทศไทย ก็กำลังประสบปัญหานี้เช่นเดียวกัน เซอร์ เคน โรบินสัน ปรมาจารย์ด้านการศึกษา ได้แสดงปาฐกถาในเวที

Read More