เหตุใดความคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) จึงมีความสำคัญ ? ก็เพราะสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเรา รวมไปถึงตัวเราเองด้วยนั้น ล้วนมีความสัมพันธ์โยงใยที่เกี่ยวเนื่องกัน เพื่อให้เกิดความเข้าใจในเรื่องความคิดเชิงระบบมากขึ้น เราต้องเข้าใจเสียก่อนว่า “ระบบ คือ อะไร ?” และ “ความคิด คือ อะไร ?” ตัวอย่างระบบที่เราสามารถมองเห็นได้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่ ระบบร่างกาย (Body
Tag: Systems Thinking
เมื่อเอ่ยถึง Learning Organization หลายคนจะนึกถึงหนังสือที่ชื่อว่า “The Fifth Discipline” ของ Peter M. Senge ซึ่งพูดถึงวินัยทั้ง 5 ประการ ขององค์กรแห่งการเรียนรู้ ได้แก่ Personal Mastery Mental Models Shared Vision Team Learning Systems
กรณีสายการบิน “นกแอร์” ที่เมื่อเดือนที่แล้วเกิดเหตุการณ์นักบินประท้วงในวันวาเลนไทน์ ทำให้ต้องยกเลิกเที่ยวบินกะทันหัน ตามมาด้วยข่าวการประกาศแจ้งยกเลิก 20 เที่ยวบิน ในวันที่ 23 ก.พ. 59 ที่ตามมาเพียงแค่สัปดาห์เดียว อะไรเกิดขึ้นกับ “นกแอร์” ? คือสิ่งที่น่านำมาขบคิดอย่างเป็นระบบ ในรายงานข่าวของ นสพ.กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันอาทิตย์ที่ 21 ก.พ. 59 ได้รายงานไว้ว่า “แหล่งข่าวสายการบินนกแอร์ กล่าวถึงสาเหตุที่นกแอร์ประกาศยกเลิกเที่ยวบินในวันที่
การวิเคราะห์ และตัดสินใจทางธุรกิจที่สำคัญ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องฉายภาพที่เป็นไปได้ต่าง ๆ ออกมาให้เห็นอย่างเด่นชัด เพื่อการตัดสินใจที่ถูกต้องและแม่นยำ ซึ่งหนึ่งในเครื่องมือที่นิยมใช้ คือ Scenario Analysis ขั้นตอนในการทำ Scenario Analysis จะเริ่มต้นจาก การรวบรวมข้อมูลของปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ พิจารณาถึงความแน่นอน ความไม่แน่นอน และแนวโน้ม ของแต่ละปัจจัย สร้างแบบจำลองสถานการณ์ ในกรณีต่าง ๆ ที่เป็นไปได้
Benchmarking คือ กระบวนการในการเทียบเคียงความสามารถในด้านต่าง ๆ เทียบกับคู่แข่ง ซึ่งบริษัท Xerox ผู้ผลิตเครื่องถ่ายเอกสารชั้นนำของโลก ได้นำวิธีการ Benchmarking นี้มาใช้ในช่วงปี 1980 เพื่อปรับปรุงความสามารถในการแข่งขันของตนเอง เนื่องจากบริษัท Xerox ประสบปัญหาด้านการตลาดอย่างรุนแรง สูญเสียความสามารถในการแข่งขันให้กับบริษัทคู่แข่งจากประเทศญี่ปุ่นที่เข้ามาตีตลาดด้วยราคาสินค้าที่ต่ำกว่า และคุณภาพที่ดีกว่า กระบวนการทำ Benchmarking คือ การวัด และเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ บริการ และวิธีการปฏิบัติงานกับองค์กรที่ดีกว่า
รูปที่ 1 การตั้งเป้าหมายด้วยมุมมอง Think from Right Hand Side การตั้งเป้าหมาย คือ หนึ่งในกระบวนการของการวางแผน หรือในกระบวนการแก้ไขปัญหา (ดังแสดงในรูปที่ 2) ที่เราต้องรู้ให้แน่ชัดเสียก่อนว่าเป้าหมายที่เราต้องการอยู่ที่ระดับใด ? รูปที่ 2 วงจรการแก้ปัญหาแบบ Systems Problem Solving ซึ่งโดยทั่วไปแล้วที่เรานิยมตั้งเป้าหมายกันนั้นจะใช้มุมมอง Think from
เมื่อเริ่มต้นที่จะวิเคราะห์เรื่องใด สิ่งสำคัญเลย ก็คือ ทุกคนในทีมจะต้องมีความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันเสียก่อน การใช้คำพูดเพียงอย่างเดียวในการสื่อสาร ก็อาจจะทำให้ผู้ฟังเข้าใจคลาดเคลื่อนไปได้ เครื่องมืออย่างหนึ่งที่จะช่วยทำให้เราสื่อสารกันเข้าใจถูกต้องตรงกัน ก็คือ การเขียนออกมาเป็นแผนภาพความคิด (Thought Model) ซึ่งแผนภาพความคิดอาจจะมีรูปแบบที่แตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับประเด็นที่เราพูดคุยกันอยู่ เช่น เราอาจจะเลือกใช้ Ansoff Matrix ในการพูดคุยกันในกรณีที่เรากำลังคุยกันในเรื่องกลยุทธ์ด้านการตลาด เราอาจจะเลือกใช้ Five Force Analysis เมื่อเรากำลังวิเคราะห์ภาพการแข่งขันในอุตสาหกรรมที่เราอยู่ เราอาจจะเลือกใช้ Value
ทุกคนล้วนย่อมเผชิญกับปัญหา แต่บางครั้งก็ติดขัดไม่รู้จะเริ่มต้นยังไง ในวันนี้อยากจะขอนำเสนอมุมมองความคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) ขั้นพื้นฐาน ในการนำมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา โดยเริ่มต้นที่ Step 1 – Problem ต้องรู้ให้แน่ชัดเสียก่อนว่าปัญหาของเรา คือ อะไร ? ซึ่งเราจะรู้ได้จาก 1.1 Actual Performance สิ่งที่ทำได้จริง ทำได้อยู่ที่เท่าไหร่ 1.2 Target สิ่งที่เราต้องการได้
เหตุใด “Word of Mouth” จึงนับเป็นเครื่องมือทางการตลาดที่ทรงพลัง ? จุดเริ่มต้นอยู่ที่การสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า เมื่อลูกค้าพึงพอใจก็จะช่วยกันบอกต่อ ส่งผลให้ยอดขายเพิ่มสูงขึ้น และถ้าสามารถรักษาคุณภาพของสินค้าไว้ได้ ก็จะทำให้ลูกค้าพึงพอใจ และบอกต่อกันไปเรื่อย ๆ ส่งผลให้ยอดขายเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ เปรียบไปก็เหมือนปรากฏการณ์ “Snowball” ที่ลูกหิมะขนาดเล็ก ๆ เมื่อกลิ้งลงมาตามภูเขาก็จะมีขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ ดังที่เห็นในรูป ซึ่งเป็นรูปแบบพื้นฐานของวิธีคิดเชิงระบบ (Systems Thinking)
ถ้าลองจินตนาการถึงการเติมน้ำ คุณอาจจะคิดว่าก็คงไม่มีอะไร “ก็แค่เปิดก๊อกน้ำเติมน้ำใส่แก้ว” ดูเหมือนลำดับความคิดจะเป็นแบบเส้นตรง (Linear Thinking) แต่ในความเป็นจริง รูปแบบความคิดในสมองคุณไม่ได้เป็นเช่นนั้น ขณะที่คุณกำลังเติมน้ำนั้น สายตาคุณก็กำลังมองระดับน้ำในแก้วที่ค่อย ๆ เพิ่มสูงขึ้น สมองคุณก็เริ่มเปรียบเทียบระดับน้ำในแก้วกับระดับน้ำที่ต้องการ จากนั้นสมองคุณก็เริ่มสั่งการร่างกายให้มือขยับไปหมุนก็อกน้ำให้ค่อย ๆ ปิดลง จนปิดสนิทเมื่อระดับน้ำในแก้วขึ้นมาถึงระดับที่ต้องการ จะเห็นว่ากระบวนการ “เติมน้ำใส่แก้ว” นั้น ก็เป็นตัวอย่างง่าย ๆ ในชีวิตประจำวัน ที่ใช้วิธีคิดเชิงระบบ (Systems