ปรับปรุงงานด้วยหลักการคิดอย่างเป็นระบบ ทำไมต้องคิดเป็นระบบ (System Thinking) คิดแบบอื่นได้มั้ย? วิธีคิดมีหลายรูปแบบไม่ว่าจะเป็นความคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking) ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) หรือ ความคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking) แล้วความคิดเป็นระบบ (System Thinking) ต่างจากความคิดแบบอื่นๆ อย่างไร ทำไมจึงจำเป็นสำหรับการทำงาน
Category: Thinking

ทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ ถือเป็นทักษะการคิดพื้นฐานที่สำคัญ และขาดไม่ได้ในการทำงานภายในองค์กรในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับบริหาร (Top Management) จนถึงระดับหน้างาน (Shop Floor) และเกี่ยวข้องกับทุกฝ่ายไม่ว่าจะเป็นฝ่ายวางแผนกลยุทธ์ ฝ่ายการตลาด ฝ่ายผลิต กระทั่งฝ่ายบุคคล หลักคิดของการคิดเชิงวิเคราะห์นั้น เมื่อพิจารณาจากเครื่องมือการคิดวิเคราะห์ต่าง ๆ จะพบว่าเป็นการคิดวิเคราะห์เชื่อมโยงหาความสัมพันธ์ของข้อมูลในมิติต่าง ๆ เพื่อวิเคราะห์หาโอกาสในการพัฒนาและปรับปรุง เช่น การวิเคราะห์กลยุทธ์ธุรกิจด้วย TOWS Matrix โดยวิเคราะห์พิจารณาหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายใน ได้แก่

Productivity Facilitator ฟันเฟืองสำคัญเพิ่มผลผลิตองค์กร
ในโลกแห่งการแข่งขันทางธุรกิจในยุคปัจจุบัน องค์กรจะต้องมีความสามารถในการตอบสนองความต้องการของลูกค้าทั้งในแง่คุณภาพ (Quality) ระยะเวลาในส่งมอบ (Time) และต้นทุน (Cost) กิจกรรมเพิ่มผลผลิต (Productivity Improvement) นับเป็นกลไกในการขับเคลื่อนที่สำคัญ ซึ่งเกี่ยวข้องกับพนักงานทุกระดับตั้งแต่ระดับบริหาร (Top Management) จนถึงระดับหน้างาน (Shop Floor) ผ่านกิจกรรมปรับปรุงงานต่าง ๆ โดยมีเป้าหมายสูงสุดคือ การตอบสนองความต้องการลูกค้าอันนำมาสู่ผลกำไรขององค์กร นักส่งเสริมกิจกรรมเพิ่มผลผลิต (Productivity Facilitator) ถือเป็นฟันเฟืองสำคัญในการดำเนินกิจกรรมเพิ่มผลผลิตโดยทำหน้าที่กระตุ้น

พัฒนา Soft Skills อย่างมีประสิทธิภาพ ต้นทุนลด กำไรเพิ่ม! ทักษะที่จำเป็นในการทำงานนั้น สามารถจำแนกได้หลักๆ อยู่ 2 ประเภท Hard Skills ได้แก่ ทักษะที่คนทำงานจะต้องมีความรู้ความสามารถที่เกี่ยวข้องกับอาชีพที่เราทำอยู่ ซึ่งเป็นทักษะที่จะเพิ่มพูนความเชี่ยวชาญในอาชีพที่เราทำอยู่ Soft Skills ได้แก่ ทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานทั่วๆ ไป ไม่ได้เจาะจงไปที่อาชีพใดอาชีพหนึ่ง ซึ่งจะทำให้เรามีทักษะในการบริหารงาน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ล่าสุดทาง

ในยุคสมัยที่เวลาเป็นเงินเป็นทอง งานทุกอย่างเร่งรีบ จะนำเสนอหรือสื่อสารแต่ละครั้งก็ควรให้ง่ายและรวดเร็ว วันนี้เรามี เทคนิค การนําเสนองาน ที่จะทำให้คุณไม่ต้องเสียเวลาทำความเข้าใจ นั่นก็คือ เทคนิค Single Page Note Taking ซึ่งเป็นแนวคิดของบริษัทรถยนต์โตโยต้า โดยการที่จะนำข้อมูลที่มีอยู่มากมายมาย่อยให้น้อยแต่เข้าใจง่ายได้ เราก็จะทำกันผ่านวิธีการ 4 ขั้นตอนนี้… 1. Eliminate (E) ตัดข้อมูลที่ไม่จำเป็นออก 2.

เทคนิค พิชิต โบนัส… ใครที่เจ็บปวดกับ การประเมินผลงาน หรือ performance appraisal เมื่อตอนปลายปี และมาบาดเจ็บอีกทีตอน ปรับขึ้นเงินเดือน กับตอนได้ โบนัส ต้นปี ตอนนี้อาจจะกำลังคิดทบทวนว่าเราควรจากไปดีมั้ย หากมีเจ้านายแย่ๆ องค์กรงั้นๆ ที่ให้ผลตอบแทนกับความทุ่มเทของเราอย่างไม่ยุติธรรมเอาเสียเลย ไม่ว่าคุณจะตัดสินใจเปลี่ยนงานหรือทำงานที่เดิม สำหรับ เทคนิค พิชิต โบนัส

Michael E. Porter กูรูชื่อดังด้านยุทธศาสตร์เพื่อการแข่งขัน (Competitive Strategy) ได้นำเสนอแนวคิดการแข่งขันในธุรกิจและอุตสาหกรรมด้วยโมเดล “Five Forces Analysis” ที่เป็น 5 แรง กด ดัน ใน ธุรกิจ ที่เราควรเตรียมความพร้อมอยู่เสมอ เพื่อรักศึกในวงการ แรงกดดันทั้ง 5 ประการนี้ เป็นสิ่งที่ผู้ที่อยู่ในสนามธุรกิจทุกคนจะรู้ ได้แก่… 1.แรงกดดันระหว่างผู้ประกอบการด้วยกันเอง (Rivalry

เมื่อใดที่กิจการเริ่มขยายตัว มีหลายธุรกิจในมือ แน่นอนว่าหลายๆ บริษัทต้องคอยตรวจคอยส่องธุรกิจในมือว่าตัวไหนเด่น หรือตัวไหนใกล้ดับ ซึ่งมีวิธีตรวจจับง่ายๆ ด้วย BCG Matrix ซึ่งถูกคิดค้นและพัฒนาขึ้นโดย Boston Consulting Group เพื่อใช้วิเคราะห์ว่าธุรกิจของเรามีสถานะอย่างไร โดยพิจารณาจาก 2 มิติร่วมกัน คือ อัตราการเติบโตของตลาด (Market Growth) และส่วนแบ่งตลาด (Market Share) จากกราฟ

เมื่อตอนสมัยทำงานอยู่ที่ SCG ลูกพี่ผมหลายคนก็มักจะบอกว่า “ช่วยสรุปทุกอย่างให้อยู่ในหน้าเดียวให้หน่อย” ซึ่งตอนนั้นผมก็ใช้เทคนิคในการคัดให้เลือกประเด็นสำคัญจริง ๆ หากยังไม่พออีกก็ใช้เทคนิคลดขนาด Font เอาซะเลย ต่อมาก็ได้มาเรียนรู้ในตอน Implement ระบบ TPM ในโรงงาน ซึ่งมีแนวคิดในเรื่องการสรุปบทเรียนออกมาเป็น 1 หน้ากระดาษ เรียกว่า One Point Lesson หรือ OPL ต่อมาก็ได้เรียนรู้เพิ่มเติมในเรื่อง A3

“เรียนเป็นเรียน เล่นเป็นเล่น” คงเป็นคำกล่าวที่แยกแยะการเล่น กับการเรียนออกจากกันโดยเด็ดขาดจนเกินไป ทำอย่างไรให้ “เรียนเป็นเล่น เล่นเป็นเรียน” เกิดขึ้นได้ ? ผม อาจารย์หญิง และอาจารย์อัลม่อน จะชวนคุณเข้าไปค้นหาความเป็นเด็กในตัวคุณอีกครั้ง แล้วคุณจะพบกับความมหัศจรรย์ในการเรียนรู้ผ่านการใช้เกมเป็นสื่อการสอน ไม่ว่าจะเป็น Board Game ที่ชื่อว่า “Hey! That’s My Fish” Lego ในรูปแบบ Brick