(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ 20/10/2556) จากผลการสำรวจความคิดเห็นเนื่องในโอกาสวันเด็กแห่งชาติปี 2556 ที่ผ่านมา โดย “อาชีวะโพล” ที่ทำการสำรวจเด็ก ๆ จำนวน 1,214 คน ในหัวข้อที่ว่า “ของขวัญวันเด็กที่อยากได้ที่สุดในปีนี้ คือ อะไร?” คำตอบที่ได้ออกมาดังนี้ อันดับ 1 โทรศัพท์มือถือ
วันเสาร์ที่ 31 พ.ค. 2557 ผมได้เข้าอบรมหลักสูตร “Innovative Trainer” กับ อ.ไชยยศ ปั้นสกุลไชย เป็นวันที่ 2 ก็ได้ทำการบ้านที่อาจารย์มอบหมายในเรื่องการปรับแก้ Course Outline, เขียน Program Timetable และเตรียมการสอนไปเพื่อสอนในเวลา 15 นาที เริ่มต้น Class ด้วยกิจกรรม “หาคนทำงาน”
(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ 08/09/2556) เมื่อพูดถึงการบ้านสำหรับเด็กน้อยหลาย ๆ คนแล้ว อาจจะเปรียบเสมือนยาขมหม้อใหญ่ เมื่อเลิกเรียนมาเด็กส่วนใหญ่จะใช้เวลาไปกับการวิ่งเล่นกับเพื่อน ๆ ในหมู่บ้าน หรือนั่งดูการ์ตูน กว่าจะเริ่มทำการบ้านก็มืดค่ำดึกดื่น สำหรับสถานการณ์นี้ สิ่งหนึ่งที่พ่อแม่ ผู้ปกครอง ควรฝึกฝนให้กับน้อย คือ เครื่องมือพื้นฐานด้านการคิดตัวหนึ่งที่ชื่อว่า FIP (First Important
(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ 11/08/2556) เมื่อปลายเดือนกรกฎาคม 2556 ที่ผ่านมา กระแสข่าวเกี่ยวกับละครซีรี่ส์วัยรุ่นยอดฮิตได้ถูกกล่าวถึงอย่างมาก ทั้งในกรณีที่ถูก กสทช. สั่งให้ส่งเทปที่ยังไม่ได้ออกอากาศไปตรวจสอบเนื้อหา รวมไปถึงข่าวที่นักแสดงสาวละครเรื่องดังกล่าว มีภาพขณะกำลังเสพยา หลุดว่อนโลกออนไลน์ ซึ่งเจ้าตัว และคุณพ่อก็ออกมายอมรับความจริงต่อสิ่งที่เกิดขึ้น “…ผมสอนลูกตลอดครับ ว่าเราโกหกทุกๆ คนได้ แต่เราไม่สามารถโกหกตัวเองได้…” คือวลีที่คุณพ่อของนักแสดงสาวให้สัมภาษณ์กับผู้สื่อข่าว นี่คือสิ่งที่ดีที่สุดที่คุณพ่อสามารถทำได้ต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นแล้ว
24 พ.ค. 2557 คือ วันแรกที่ผมได้เข้าอบรมหลักสูตร “Innovative Trainer” กับ อ.ไชยยศ ปั้นสกุลไชย ซึ่งตัวผมเองก็รู้จักกับอ.ไชยยศ มาประมาณ 4-5 ปี แต่ก็ยังไม่ได้มีโอกาสร่ำเรียนเป็นลูกศิษย์แบบจริง ๆ จัง ๆ ซักที จนตัดสินใจได้ว่าอยากผันตัวเองมาเป็นวิทยากรมืออาชีพแบบเต็มตัว ก็ต้องมาเรียนแบบเข้มข้นกับ Pro.Trainer ขั้นเทพอย่าง อ.ไชยยศ ซักหน่อย
(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ 21/09/2557) “Hotel Rwanda – รวันดา ความหวังไม่สิ้นสูญ” ภาพยนตร์ระดับรางวัลออสการ์ ถูกหยิบยกมาพูดถึงในช่วงวิกฤติการเมืองที่ผ่านมา ครั้งนี้จะถูกพูดถึงอีกครั้งในมุมการตัดสินใจของผู้นำภายใต้ภาวะวิกฤติ ภายใต้ภาวะวิกฤติไม่ว่าจะเกมการเมือง หรือเกมธุรกิจ สิ่งที่ผู้นำต้องเผชิญ ก็คือ จะทำอย่างไรที่จะนำพาทีมไปสู่เป้าหมายที่ตั้งไว้ แม้ว่าหลายต่อหลายครั้งในการเจรจาต่อรอง (Negotiation) จะต้องตกอยู่ในสถานการณ์ที่ตกเป็นรอง ก็ต้องมีการยอมรับในเงื่อนไขที่เสียเปรียบ เพื่อหวังผลเป้าหมายสุดท้าย
(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ 31/08/2557) ความยากของการแข่งขันไม่ว่าจะในเกมธุรกิจ หรือเกมกีฬา ก็คือ ผู้ที่เป็นอันดับหนึ่งก็ต้องพยายามรักษาความเป็นอันดับหนึ่งของตัวเองไว้ให้ได้ ในขณะเดียวกันผู้แข่งขันรายอื่น ๆ ก็ต้องพยายามที่จะโค่นผู้นำให้ได้ การแข่งขันที่ยุติธรรมที่สุดก็คือ แต่ละฝ่ายมีทรัพยากรที่เท่า ๆ กัน แต่ในการแข่งขันที่เกิดขึ้นจริงนั้นมันคือ เกมอยุติธรรม (Unfair Game) ที่ผู้แข่งขันที่มีเงินทุนหนากว่า มีทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพมากกว่า จะเป็นผู้ได้เปรียบในการแข่งขัน
(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ 28/07/2556) ในปี 2558 กลุ่มประเทศอาเซียน 10 ประเทศ ก็จะมีการรวมตัวกันเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ ASEAN Economic Community (AEC) อย่างสมบูรณ์แบบ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม แต่สิ่งที่น่าเป็นห่วงเป็นอย่างยิ่งสำหรับประเทศไทย คือ
(บทความนี้ตีพิมพ์ในคอลัมน์ “Life is Learning” นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วันอาทิตย์ที่ 14/07/2556) ช่วงที่ผ่านมาในแวดวงการศึกษาไทย เรื่องที่มีการพูดคุยกันมากที่สุด คงหนีไม่พ้นเรื่องนโยบายการยุบโรงเรียนขนาดเล็กที่ไม่มีคุณภาพ เนื่องจากงบประมาณมีไม่เพียงพอ คำถามหนึ่งที่เกิดขึ้นในสังคมนี่คือ แนวทางการแก้ไขปัญหาคุณภาพการศึกษาไทยจริง ๆ หรือ ? อันที่จริงแล้วประเด็นปัญหาเรื่องคุณภาพการศึกษาไม่ได้มีเฉพาะในเมืองไทยเท่านั้น อย่างในประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศที่เป็นต้นแบบหลักสูตรการศึกษาของประเทศไทย ก็กำลังประสบปัญหานี้เช่นเดียวกัน เซอร์ เคน โรบินสัน ปรมาจารย์ด้านการศึกษา ได้แสดงปาฐกถาในเวที