fbpx

เวลาที่คุณอยู่ในห้างสรรพสินค้า แล้วต้องการหาอะไรทาน คุณจะเลือกทานร้านอาหารประเภทใด ด้วยเหตุผลอะไร ? คุณจะเลือกไปทานที่ MK หรือ McDonald หรือว่าจะเลือกเดินไปทานที่ Food Court ไม่ว่าคุณจะมีเหตุผลในการเลือกนานาประการ แต่ก็คงหนีไม่พ้นในเรื่อง  Time – ความรวดเร็วในการให้บริการ Quality – สด สะอาด อร่อย Cost – ราคาที่เหมาะสม

Read More

ในแนวคิดการปรับปรุงกระบวนการทำงานด้วยลีน (Lean Management) เป้าหมายหลักสำคัญอันหนึ่ง ก็คือ จะสามารถปรับปรุงกระบวนการทำงานให้รวดเร็วขึ้นได้อย่างไร สิ่งแรกที่จะต้องเราต้องลงไปเก็บข้อมูลจริงที่หน้างาน เรียกว่าเป็นการสำรวจสภาพปัจจุบัน (Current Status) ของทุกขั้นตอนในกระบวนการทำงานที่ทำอยู่ โดยใช้ตารางวิเคราะห์อย่างง่าย ๆ วัดเวลาในแต่ละ Step การทำงาน แต่สิ่งที่สำคัญ คือ ต้องแยก Station งานที่รับผิดชอบงานแต่ละ Step ให้ชัดเจน ดังตัวอย่าง Station

Read More
Sipoc im

ในการเริ่มต้นปรับปรุงกระบวนการทำงานนั้น สิ่งที่สำคัญที่สุด คือ การทำความเข้าใจภาพรวมของกระบวนการให้เห็นอย่างถ่องแท้ โดยเริ่มต้นศึกษาตั้งแต่ภาพรวมในระดับองค์กร (Organization) โดยใช้ Model ในการวิเคราะห์ที่ชื่อว่า “SIPOC” อันประกอบไปด้วย การวิเคราะห์ที่ชื่อว่า “SIPOC” อันประกอบไปด้วย… S – Supplier หมายถึง ผู้ส่งมอบสิ่งของหรือข้อมูลที่จะต้องนำไปผ่านกระบวนการ I – Input หมายถึง สิ่งของหรือข้อมูลที่จะต้องนำไปผ่านกระบวนการ P – Process หมายถึง กระบวนการอันประกอบไปด้วยหลาย

Read More
หลักสูตร ฝึก อบรม Public Training Analytical and systematic thinking ALERT Learning and Consultant นายเรียนรู้ อาจารย์บุญเลิศ คณาธนสาร การ ปรับปรุง งาน ด้วย ECRS หักสูตร ฝึก อบรม ผู้บริหาร หัวหน้างาน อบรม การสื่อสาร ตั้งเป้าหมาย KPIs พนักงาน strategic thinking lean management Analytical Thinking and Systematic problem solving อาจารย์บุญเลิศ คณาธนสาร นายเรียนรู้ ALERT Learning and Consultant

คำถามง่าย ๆ ที่ทรงพลัง “5W1H” สู่ การ ปรับปรุง งาน ด้วย ECRS 5W1H คำถามง่ายๆ  ที่จะนำไปสู่การปรับปรุงงาน คำถามง่าย ๆ แต่สุดแสนจะทรงพลังใน การ ปรับปรุง งาน ด้วย ECRS ก็คือ การตั้งคำถามกับสิ่งที่ทำอยู่ด้วยคำถาม “5W1H” “What”

Read More
FB 8 wastes

ความสูญเสีย 8 ประการ ลดได้ก็ ลี น กระบวน การ ทำงาน ได้ ! ในองค์กรใดๆ หากพบว่าได้เกิด ความสูญเสีย 8 ประการ ขึ้น จะทำให้ กระบานการ ทำงาน เป็นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ การ เพิ่ม ประสิทธิภาพ ใน

Read More

(บทความนี้ตีพิมพ์ลงใน นสพ.กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันอาทิตย์ที่ 27 ธันวาคม 2558) “เรากำลังแสวงหาอะไร ?” หลายคนอาจจะคุ้นเคยกับประโยคนี้ เมื่อเอ่ยถึงชื่อหนังสือของท่าน จ.กฤษณมูรติ แต่ในบทความวันนี้ คงจะไม่ได้นำเนื้อหาในหนังสือเล่มดังกล่าวมาเล่าสู่กันฟังแต่อย่างใด แต่อยากจะชวนท่านผู้อ่านใคร่ครวญ และขบคิดไปด้วยกัน เนื่องในโอกาสที่ปี ๒๕๕๘ กำลังจะผ่านพ้นไป และปีพุทธศักราชใหม่ ๒๕๕๙ กำลังจะเริ่มต้นขึ้น “เรากำลังแสวงหาอะไร ?” เป็นประโยคคำถามที่ดีเลยทีเดียว ที่ทำให้ตัวเรานั้นต้องหยุดคิดไตร่ตรองให้ดีก่อนที่จะก้าวเดินต่อไป

Read More

การแก้ไขปัญหาโลกร้อนที่ยั่งยืนอย่างแท้จริงแล้ว ต้องเข้าไปแก้ไขที่แหล่งกำเนิดโดยที่ทุกประเทศจะต้องร่วมมือกันในการที่จะช่วยกันลดการปล่อยก๊าซที่ส่งผลสภาวะโลกร้อน แต่ก็มีนำเสนอแนวคิด “การค้าคาร์บอน (Carbon Trading)” คือ ให้ผู้ที่ปล่อยก๊าซฯเกินค่ามาตรฐาน สามารถซื้อคาร์บอนเครดิต จากผู้ที่มีปล่อยก๊าซฯต่ำกว่าค่ามาตรฐานได้ โดยใช้ชื่อเรียกกลไกนี้ว่า “กลไกการพัฒนาที่สะอาด” หรือ “Clean Development Mechanism” เพื่อช่วยประเทศพัฒนาแล้วที่โดนบังคับให้ลดการปล่อยก๊าซฯ แต่อ้างว่าต้นทุนการลดก๊าซในประเทศตัวเองสูงเกินไป นำเงินไปซื้อ “คาร์บอนเครดิต” จากประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งกล่าวอ้างต้นทุนการลดก๊าซในประเทศดังกล่าวนั้นถูกกว่า แนวคิดการค้า “คาร์บอนเครดิต” ถูกโฆษณาและนำเสนอไปทั่วโลกว่าเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพื่อหยุดภาวะโลกร้อน

Read More

EIA กับ EHIA คือ อะไร ต่างกันอย่างไร แล้วทำไมต้องมี EIA (Environmental Impact Assessment) คือ “รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม” จากโครงการต่าง ๆ ของรัฐและเอกชน เช่น เขื่อน โรงไฟฟ้า ถนน สนามบิน ที่อยู่อาศัย โรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ ทั้งด้านบวกและลบ เพื่อเตรียมควบคุม

Read More

“ช่องสาริกา โมเดล” นับเป็นแนวคิดในการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืนของเครือเบทาโกร ที่ได้นำแนวคิดในด้าน Productivity Management เข้าไปช่วยเหลือชาวบ้านใน ต.ช่องสาริกา อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี โดยล่าสุดได้ตีพิมพ์ลงในนิตยสาร Productivity World ของ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ฉบับที่ 119 (พฤศจิกายน-ธันวาคม 2558) ด้วยวิสัยทัศน์ของผู้บริหารที่จบปริญญาโทด้านเศรษฐศาสตร์อย่างคุณวนัส แต้ไพสิฐพงษ์ ทำให้มองว่าการทำ CSR แบบเดิม ๆ

Read More

ข่าวคราวความเคลื่อนไหวที่เป็นประเด็นใหญ่อีกประเด็นหนึ่งเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา คือ การออกมารวมตัวคัดค้าน “ร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ความปลอดภัยทางชีวภาพ พ.ศ. …” เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2558 ที่ผ่านมา โดยข้อเท็จจริงแล้วในเรื่องสิทธิการรับรู้เรื่อง GMOs ของผู้บริโภคในประเทศไทยฉลาก มีมานานตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ครอบคลุมอาหาร ผลิตภัณฑ์อาหารที่มี GMOs เพียง 2 ชนิด คือ ถั่วเหลืองและข้าวโพด ใน

Read More