สรุปเนื้อหาสาระสำคัญในหลักสูตร “Problem Solving and Decision Making” ของอาจารย์บุญเลิศ คณาธนสาร
Tag: Problem Solving
![Problem Solving and Decision Making, แก้ปัญหาและตัดสินใจ](https://www.nairienroo.com/wp-content/uploads/2024/04/SYSTEMS-PROBLEM-SOLVING-AND-DECISION-MAKING.png)
การแก้ปัญหาและตัดสินใจ ในโลกแห่งการแข่งขันในทางธุรกิจ เราพัฒนาทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ (Systems Thinking) เพื่อรับมือกับสถานการณ์ต่าง ๆ มากมายที่ต้องเผชิญ ไม่ว่าจะเป็น “สถานการณ์ที่ต้องแก้ปัญหาให้ตรงจุด” และ “สถานการณ์ที่ต้องตัดสินใจอย่างถูกต้อง”
![single page note taking หลักสูตร ฝึก อบรม เทคนิค การนำเสนองาน สรุป ทุกอย่าง ลงใน กระดาษ แผ่น เดียว toyota one page note taking one page knowledge sharing หลักสูตร one page นายเรียนรู้ nairienroo อาจารย์ บุญเลิศ คณาธนสาร boonlert kanathanasarn](https://www.nairienroo.com/wp-content/uploads/2019/03/single-page-note-taking-im.png)
ในยุคสมัยที่เวลาเป็นเงินเป็นทอง งานทุกอย่างเร่งรีบ จะนำเสนอหรือสื่อสารแต่ละครั้งก็ควรให้ง่ายและรวดเร็ว วันนี้เรามี เทคนิค การนําเสนองาน ที่จะทำให้คุณไม่ต้องเสียเวลาทำความเข้าใจ นั่นก็คือ เทคนิค Single Page Note Taking ซึ่งเป็นแนวคิดของบริษัทรถยนต์โตโยต้า โดยการที่จะนำข้อมูลที่มีอยู่มากมายมาย่อยให้น้อยแต่เข้าใจง่ายได้ เราก็จะทำกันผ่านวิธีการ 4 ขั้นตอนนี้… 1. Eliminate (E) ตัดข้อมูลที่ไม่จำเป็นออก 2. Combine (C)
![right candidates im](https://www.nairienroo.com/wp-content/uploads/2019/01/Trick-for-HR-IM.png)
ปัญหาหนึ่งของวงการ HR ก็คือ เราจะสามารถหา ” คน ทำงาน ที่ใช่ ” ที่ตรงตามความต้องการขององค์กรได้อย่างไร วันนี้เรามี Trick for HR มาบอกต่อ กับ 8 ขั้นตอน การหา คนที่ใช่ ให้องค์กร 1. ขั้นค้นหาคน กำหนดสเปกให้ชัดเจน ไม่กว้างหรือแคบเกินไป
![](https://www.nairienroo.com/wp-content/uploads/2017/01/steal.png)
ความตั้งใจเดิมในวันนี้นั้น อยากที่เขียนวิเคราะห์เชื่อมโยงการวิเคราะห์เรื่องราวที่เกิดขึ้นในกรณีที่เป็นข่าวที่โด่งดังเรื่องหนึ่ง คือ ข่าวของรองอธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญาขโมยภาพจากโรงแรมแห่งหนึ่ง ล่าสุดก่อนผมลงมือเขียนบทความนี้ท่านรองอธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญา คุณสุภัฒ สงวนดีกุล ก็ออกหนังสือชี้แจงเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และขอยอมรับผิดด้วยการลาออกจากตำแหน่ง แต่ในประเด็นที่ผมจะนำมาวิเคราะห์เกี่ยวกับข่าวนี้ เพื่อใช้เป็น Case Study เชื่อมโยงกับหลักการวิเคราะห์ปัญหา IS / IS NOT อันโด่งดังของสองคู่หู Kepner-Tregoe เมื่อเกิดข่าวนี้ขึ้นปรากฎว่า ทางการไทยได้เข้าไปให้ความช่วยเหลือทุกอย่างเพื่อให้รองอธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญาพ้นจากการลงโทษตามกฎหมายของรัฐบาลญี่ปุ่น พร้อมทั้งมีเนติบริกรที่เป็นกุนซือของรัฐบาลนี้ออกมาปกป้องการกระทำผิดในครั้งนี้ ทำให้ผมลองไปค้นหาดูว่าเคยมีเหตุการณ์ลักษณะเดียวกันนี้เกิดขึ้นหรือเปล่า ก็ไปพบข่าวชิ้นหนึ่งของสำนักข่าว
![](https://www.nairienroo.com/wp-content/uploads/2017/01/thaiairline.png)
“ยิ้มไม่ออก กับ Thai Smile” วันนี้เป็นครั้งแรกที่ผมเดินทางกับสายการบิน Thai Smile และเป็นครั้งแรกที่ผมจะจำไว้ไม่มีวันลืม ผมต้องเดินทางไปเชียงใหม่ เพื่อไปบรรยายในวันที่ 26-27/01/2560 ที่บริษัท ช้าฟเนอร์ อีเอ็มซี จำกัด ผมเลยวางแผนเดินทางล่วงหน้าก่อน 1 วัน เพื่อจะได้พักผ่อนให้เต็มที่ เตรียมพร้อมให้เต็มที่กับการบรรยาย ผมเดินทางไปถึงสนามบินสุวรรณภูมิเวลา 12:15 น. เครื่องบินตามกำหนดการไฟล์ท WE182
![](https://www.nairienroo.com/wp-content/uploads/2016/10/whywhy-2.jpg)
Why-Why Analysis คือ เครื่องมือหนึ่งที่ใช้ในการวิเคราะห์สาเหตุรากเหง้าของปัญหา แต่มักมีคำถามบ่อย ๆ ว่าเทคนิคการวิเคราะห์ด้วย Why-Why นั้น เหมาะกับปัญหาประเภทใด ? ก่อนอื่นเราต้องทำความเข้าใจ Pattern ของปัญหาก่อนว่าสามารถแบ่งได้หลัก ๆ 2 ประเภท คือ ปัญหาเรื้อรั้ง (Chronic Problem) ปัญหาครั้งคราว (Sporadic Problem) การวิเคราะห์ด้วย
D1 – Establish the team จัดตั้งทีมที่ประกอบไปด้วยคนที่มีความรู้ในผลิตภัณฑ์ และกระบวนการนั้น ๆ D2 – Describe the Problem ระบุปัญหาให้ชัดเจนโดยใช้เทคนิคการตั้งคำถาม 5W2H ว่า ใคร (who) ทำอะไร (what) ที่ไหน (where) เมื่อไหร่ (when) ทำไม
![](https://www.nairienroo.com/wp-content/uploads/2016/04/เป้า.jpg)
หากพูดถึงคำว่าเป้าหมาย หลาย ๆ คนคงคิดถึงเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องส่วนตัว หรือในเรื่องงาน เป้าหมายนั้นอาจมีที่มาที่แตกต่างกันออกไป บางส่วนมาจากที่คนอื่นกำหนดให้ บางส่วนเราอาจจะต้องเป็นคนกำหนดเป้าหมายขึ้นมาเอง เมื่อมีค่าเป้าหมายตั้งไว้ ก็ต้องนำมาเปรียบเทียบกับค่าปัจจุบันที่เป็นอยู่ ก็จะเห็นช่องว่างระหว่างค่าเป้าหมายกับค่าปัจจุบัน นั่นคือสิ่งที่เป็นปัญหา (Problem) ที่เราต้องขจัดให้หมดไป หรือมองในอีกมุมหนึ่งมันคือความท้าทาย (Challenge) ที่เราต้องก้าวไปให้ถึง ดังนั้นเป้าหมายจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะเป็นตัวขับเคลื่อนให้เกิดการแข่งขัน และการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ลองนึกภาพดูสิครับถ้าการแข่งขันกีฬาประเภทต่าง ๆ อย่างเช่น การแข่งขันวิ่ง 100
เหตุใดความคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) จึงมีความสำคัญ ? ก็เพราะสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเรา รวมไปถึงตัวเราเองด้วยนั้น ล้วนมีความสัมพันธ์โยงใยที่เกี่ยวเนื่องกัน เพื่อให้เกิดความเข้าใจในเรื่องความคิดเชิงระบบมากขึ้น เราต้องเข้าใจเสียก่อนว่า “ระบบ คือ อะไร ?” และ “ความคิด คือ อะไร ?” ตัวอย่างระบบที่เราสามารถมองเห็นได้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่ ระบบร่างกาย (Body