fbpx
TQM and Systems Thinking

ในโลกแห่งการแข่งขันทางธุรกิจในยุคปัจจุบัน องค์กรจะต้องมีความสามารถในการตอบสนองความต้องการของลูกค้าทั้งในแง่คุณภาพ (Quality) ระยะเวลาในส่งมอบ (Time) และต้นทุน (Cost) กิจกรรมเพิ่มผลผลิต (Productivity Improvement) นับเป็นกลไกในการขับเคลื่อนที่สำคัญ ซึ่งเกี่ยวข้องกับพนักงานทุกระดับตั้งแต่ระดับบริหาร (Top Management) จนถึงระดับหน้างาน (Shop Floor) ผ่านกิจกรรมปรับปรุงงานต่าง ๆ โดยมีเป้าหมายสูงสุดคือ การตอบสนองความต้องการลูกค้าอันนำมาสู่ผลกำไรขององค์กร นักส่งเสริมกิจกรรมเพิ่มผลผลิต (Productivity Facilitator) ถือเป็นฟันเฟืองสำคัญในการดำเนินกิจกรรมเพิ่มผลผลิตโดยทำหน้าที่กระตุ้น

Read More
นโยบาย ค่าแรงขั้นต่ำ ผลกระทบ Analytical and Systematic Thinking ครบรอบ 9 ปี Alert Learning and Consultant นายเรียนรู้ Nairienroo บุญเลิศ คณาธนสาร เลือกตั้ง 2019

นโยบาย “ค่าแรงขั้นต่ำ” ใครช้ำ? ใครได้? นโยบายปรับขึ้น ค่าแรงขั้นต่ำ อีกหนึ่งกลยุทธ์นโยบายหาเสียงที่หลายๆ พรรคงัดออกมาใช้เพื่อดึงคะแนนจากกลุ่มผู้ใช้แรงงาน เราลองไปดูตัวเลขค่าแรงขั้นต่ำกันว่าแต่ละพรรคเสนอปรับขึ้นเท่าไหร่ พรรคสามัญชน 500 บาทต่อวัน พรรคอนาคตใหม่ 450 บาทต่อวัน* (ยังไม่ใช่นโยบายอย่างเป็นทางการของพรรค ถอดความจากคำสัมภาษณ์ของนางสาวพรรณิการ์ วานิช โฆษกพรรคอนาคตใหม่ บนเวทีดีเบต “อนาคตปากท้องคนไทย” 4 มีนาคม 2562) พรรคพลังประชารัฐ

Read More
รัก ใน ออฟฟิศ im

ปฏิเสธไม่ได้ว่าทุกวันนี้คนเราใช้ชีวิตในออฟฟิศหรือที่ทำงานมากกว่าสถานที่อื่นใด จึงมีโอกาสสูงมากที่เราจะพบคนที่ถูกใจในที่ทำงาน พบ รัก ใน ออฟฟิศ ซึ่งก็นับเป็นเรื่องที่หมิ่นเหม่นิดหน่อย เพราะหากไม่นับเรื่องส่วนตัวที่กลัวว่าเลิกกันแล้วจะมองหน้ากันไม่ติด ยังมีเรื่องจริยธรรมการทำงานที่องค์กรควรคำนึงถึงอีก แต่ก่อนที่จะมาตอบว่า รัก ใน ออฟฟิศ ผิดตรงไหน? เรามาดูกันก่อนว่าการพบรักกันในที่ทำงานนั้นมีความเสี่ยงต่อองค์กรหรือบริษัทที่คู่รักทำงานอย่างไร ข้อครหาเรื่องความไม่ยุติธรรม ความรักเป็นเรื่องของความลำเอียงและเอาอกเอาใจอยู่แล้ว จึงอาจมีผลกระทบ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการมอบหมายงาน ประเมินผลงาน รวมถึงการให้คุณให้โทษอื่นๆ เสี่ยงต่อการปิดบังอำพรางการทุจริตภายในองค์กร คู่รักมักเห็นใจและสนับกันเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว จะเสี่ยงมาก หากเป็นการร่วมมือร่วมใจกันทำอะไรในทางที่ไม่ดี จากความเสี่ยงที่ว่ามา

Read More

แก้ปัญหาไม่ถูกจุด…เพราะไม่รู้ประเภทของปัญหา ปัญหาเป็นสิ่งที่ทุก ๆ คนต้องเผชิญ แต่หลายครั้งหลายหนที่หลายคนจับต้นชนปลายไม่ถูก แก้ปัญหาไม่ถูกจุด เพราะไม่รู้ประเภทของปัญหา หากเรามาจำแนกประเภทของปัญหา โดยใช้ตาราง Matrix ใน 2 มิติ คือ มิติของสาเหตุ แบ่งเป็น “รู้” กับ “ไม่รู้” มิติของมาตรการแก้ไข / มาตรการป้องกัน แบ่งเป็น “รู้” กับ

Read More

ความตั้งใจเดิมในวันนี้นั้น อยากที่เขียนวิเคราะห์เชื่อมโยงการวิเคราะห์เรื่องราวที่เกิดขึ้นในกรณีที่เป็นข่าวที่โด่งดังเรื่องหนึ่ง คือ ข่าวของรองอธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญาขโมยภาพจากโรงแรมแห่งหนึ่ง ล่าสุดก่อนผมลงมือเขียนบทความนี้ท่านรองอธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญา คุณสุภัฒ สงวนดีกุล ก็ออกหนังสือชี้แจงเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และขอยอมรับผิดด้วยการลาออกจากตำแหน่ง แต่ในประเด็นที่ผมจะนำมาวิเคราะห์เกี่ยวกับข่าวนี้ เพื่อใช้เป็น Case Study เชื่อมโยงกับหลักการวิเคราะห์ปัญหา IS / IS NOT อันโด่งดังของสองคู่หู Kepner-Tregoe เมื่อเกิดข่าวนี้ขึ้นปรากฎว่า ทางการไทยได้เข้าไปให้ความช่วยเหลือทุกอย่างเพื่อให้รองอธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญาพ้นจากการลงโทษตามกฎหมายของรัฐบาลญี่ปุ่น พร้อมทั้งมีเนติบริกรที่เป็นกุนซือของรัฐบาลนี้ออกมาปกป้องการกระทำผิดในครั้งนี้ ทำให้ผมลองไปค้นหาดูว่าเคยมีเหตุการณ์ลักษณะเดียวกันนี้เกิดขึ้นหรือเปล่า ก็ไปพบข่าวชิ้นหนึ่งของสำนักข่าว

Read More

เบื้องลึกการตัดสินใจ หลายครั้งหลายหนที่เรามักมีความคิดเห็นที่ขัดแย้งกัน บ่อยครั้งมักจบลงเอยด้วยการทะเลาะเบาะแว้งกัน ใช้คำพูดที่เหน็บแหนมกัน หากเป็นในที่ประชุมภายในบริษัท ภายในองค์กรก็มักจบลงด้วยการทุบโต๊ะโดยผู้มีอำนาจในที่ประชุม หรือลงมติด้วยเสียงข้างมากในที่ประชุม น้อยครั้งมากที่หันเข้าเข้ามาหากัน เพื่อพิจารณาในเรื่องรูปแบบความคิด (Mental Model) ที่มีในใจของแต่ละคน โดยปุถุชนคนทั่วไปจะมีรูปแบบในการตัดสินใจต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ดังรูปภาพ ปัจจัยในการตัดสินใจแต่ละคนไม่ได้มาจาก Information Feedback ที่เป็นข้อเท็จจริงเพียงอย่างเดียว แต่เกิดจากกฎเกณฑ์การตัดสินใจที่เกิดรูปแบบความคิด (Mental Model) ของคน ๆ นั้น

Read More

การวิเคราะห์ระบบ (Systems Analysis) เมื่อย้อนกลับไปดูที่บทที่ 1 ในเรื่องปัญหาในรูปแบบกรณีที่ 2 ซึ่งเป็นกรณีที่ “สิ่งที่ต้องการ (Target)” มากกว่า “ค่ามาตรฐาน (Standard)” ดังแสดงในรูปที่ 4.1 รูปที่ 4.1 ปัญหาในรูปแบบกรณีที่ 2 นี้เป็นปัญหาประเภท “ปัญหาพื้น ๆ (Standard Problem)” ที่เราสามารถที่จะใช้วิธีการเดิมในอดีตที่เคยทำสำเร็จตาม

Read More

การออกแบบระบบ (Systems Design) เมื่อย้อนกลับไปดูที่บทที่ 1 ในเรื่องปัญหาในรูปแบบกรณีที่ 1 ซึ่งเป็นกรณีที่ “สิ่งที่ต้องการ (Target)” มากกว่า “ค่ามาตรฐาน (Standard)” ดังแสดงในรูปที่ 3.1 ปัญหาในรูปแบบกรณีที่ 1 นี้เป็นปัญหาประเภท “ปัญหาท้าทาย (Challenge Problem)” ที่เราไม่สามารถที่จะใช้วิธีการเดิมในอดีตที่เคยทำสำเร็จตาม “ค่ามาตรฐาน (Standard)” มาใช้ได้อีกต่อไป

Read More

เมื่อเอ่ยถึงความคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) หลายคนคงนึกถึง หนังสือที่ชื่อว่า “The Fifth Discipline” ของ Peter M. Senge ซึ่งพูดถึงวินัยทั้ง 5 ประการ ขององค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) ได้แก่ Personal Mastery Mental Models Shared Vision

Read More